วันอาทิตย์ที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
ข้อ 1 จงบอกความหมายของเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษามาอย่างถูกต้อง
- เทคโนโลยี หมายถึง การนำเอาขบวนการ วิธีการ และแนวคิดใหม่ๆมาใช้ หรือประยุกต์ใช้อย่าง มีระบบเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
- นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง ความคิดและวิธีการปฎิบัติใหม่ๆที่ส่งเสริมให้กระบวนการทางการศึกษามีประสิทธิภาพสูงขึ้ เช่น การสอนแบบโปรแกรม เป็นต้น
- นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง ความคิดและวิธีการปฎิบัติใหม่ๆที่ส่งเสริมให้กระบวนการทางการศึกษามีประสิทธิภาพสูงขึ้ เช่น การสอนแบบโปรแกรม เป็นต้น
ข้อ 2 จงยกตัวอย่างเทคโนโลยีและนวัตกรรมในสาขาต่างๆมาอย่างน้อย 5 สาขา
1. เทคโนโลยีด้านการศึกษา
2. เทคโนโลยีด้านการทหาร
3. เทคโนโลยีด้านการคมนาคม
4. เทคโนโลยีด้านการติดต่อสื่อสาร
5. เทคโนโลยีด้านการแพทย์
2. เทคโนโลยีด้านการทหาร
3. เทคโนโลยีด้านการคมนาคม
4. เทคโนโลยีด้านการติดต่อสื่อสาร
5. เทคโนโลยีด้านการแพทย์
ข้อ 3 จงอธิบายเปรียบเทียบความหมายของเทคโนโลยีทางการศึกษาตามทัศนะทางวิทยาศาสตร์กายภาพและทัศนะทางพฤติกรรมศาสตร์ให้ชัดเจน
- ทัศนะทางวิทยาศาสตร์กายภาพ : เทคโนโลยีในทัศนะนี้จะมุ่งไปที่วัสดุ อุปกรณ์ หรือผลผลิตทางวิศวกรรม เป็นสำคัญแต่ไม่รวมวิธีการหรือปฎิสัมพันธ์อื่นๆเพราะเก็นว่าการนำเอาเครื่องมือ อุปกรณ์และวัสดุช่วยในกระบวนการเรียนการสอนทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น จึงเป็นเทคโนโลยีทางเครื่องมือเกิดขึ้น
- ทัศนะทางพฤติกรรมศาสตร์ : เทคโนโลยีในทัศนะนี้จะมุ่งไปที่พฤติกรรมของมนุษย์เป็นสำคัญโดยมองที่ความแตกต่างระหว่างบุคคล จึงสนใจในการจัดการเรียนการสอนอย่างไรที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้มีการนำความรู้ทั้งหลายมาใช้ควบคู่กับผลิตผลทางวิทยาศาสตร์หรือวัสดุอุปกรณ์เพื่อให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ทัศนะทางพฤติกรรมศาสตร์ : เทคโนโลยีในทัศนะนี้จะมุ่งไปที่พฤติกรรมของมนุษย์เป็นสำคัญโดยมองที่ความแตกต่างระหว่างบุคคล จึงสนใจในการจัดการเรียนการสอนอย่างไรที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้มีการนำความรู้ทั้งหลายมาใช้ควบคู่กับผลิตผลทางวิทยาศาสตร์หรือวัสดุอุปกรณ์เพื่อให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 4 จงบอกความหมายของการศึกษาตามความเข้าใจของบุคคลในระดับต่างๆ อย่างน้อย 3 ระดับ
ความหมายของการศึกษาตามความเข้าใจของบุคคล ใน 3 ระดับ ดังนี้
1.บุคคลธรรมดาสามัญ ให้ความหมายว่า การศึกษาเป็นการเล่าเรียนฝึกฝนและอบรม
2.บุคคลในวิชาชีพการศึกษา ให้ความหมายว่า การศึกษาเป็นศิลปะการถ่ายทอดความรู้จากอดีตซึ่งจัดรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่อย่างมีระบบเพื่อให้บุคคลรุ่นหลังเข้าใจและนำไปปฎิบัติ
3.บุคคลที่เป็นนักการศึกษา
- ในทัศนะแนวสังคมนิยม ให้ความหมายว่า การศึกษาคือการปรับตัวเข้ากับสังคม ศาสนาเป็นการศึกษารูปแบบหนึ่ง การปฎิรูปตามศาสนา วัฒนธรรม ขนบทำเนียมประเพณี เกี่ยวกับการปรับตัวให้เข้ากับสังคม ศาสนากับการศึกษาจึงรวมกันเป็นแนวทางเดียวกันเสมอ
- ในทัศนะเสรีนิยม ให้ความหมายว่า การสึกษาคือการมุ่งพัฒนาบุคลแต่ละให้เจริญงอกงามเต็มที่ตามความสามารถที่เขามีอยู่แล้ว บุคคลที่ได้รับการศึกษานี้จะใช้ความสามารถของตนสร้างเสริมสังคมในอนาคต
1.บุคคลธรรมดาสามัญ ให้ความหมายว่า การศึกษาเป็นการเล่าเรียนฝึกฝนและอบรม
2.บุคคลในวิชาชีพการศึกษา ให้ความหมายว่า การศึกษาเป็นศิลปะการถ่ายทอดความรู้จากอดีตซึ่งจัดรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่อย่างมีระบบเพื่อให้บุคคลรุ่นหลังเข้าใจและนำไปปฎิบัติ
3.บุคคลที่เป็นนักการศึกษา
- ในทัศนะแนวสังคมนิยม ให้ความหมายว่า การศึกษาคือการปรับตัวเข้ากับสังคม ศาสนาเป็นการศึกษารูปแบบหนึ่ง การปฎิรูปตามศาสนา วัฒนธรรม ขนบทำเนียมประเพณี เกี่ยวกับการปรับตัวให้เข้ากับสังคม ศาสนากับการศึกษาจึงรวมกันเป็นแนวทางเดียวกันเสมอ
- ในทัศนะเสรีนิยม ให้ความหมายว่า การสึกษาคือการมุ่งพัฒนาบุคลแต่ละให้เจริญงอกงามเต็มที่ตามความสามารถที่เขามีอยู่แล้ว บุคคลที่ได้รับการศึกษานี้จะใช้ความสามารถของตนสร้างเสริมสังคมในอนาคต
ข้อ 5 . เทคโนโลยีการศึกษามีกี่ระดับ แต่ละระดับมีความหมายว่าอย่างไร จงอธิบายพอเข้าใจ
เทคโนโลยีการศึกษามี 3 ระดับ ได้แก่
1. ระดับอุปกรณ์การสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีระดับเครื่องช่วยการสอนของครู (Teacher Aid) เป็นการเร้าความสนใจของนักเรียน ขยายความเข้าใจให้แจ่มแจ้ง เป็นการเพิ่มสัมผัสจากการใช้หูฟังครูเพียงอย่างเดียว ให้มีสัมผัสหลายทาง โดยการใช้ภาพใช้เสียงจริง หรือวัสดุจำลอง เป็นต้น
2. ระดับวิธีสอน เป็นใช้เทคโนโลยีแทนการสอนของครูด้วยตนเอง โดยผู้สอนไม่จำเป็นจะต้องอยู่ในสถานที่เดียวกับผู้เรียนเสมอไป เช่น การสอนทางไกลโดยใช้วิทยุโทรทัศน์ การใช้เทคโนโลยีระดับนี้มีผลดีในเรื่องของการจัดกิจกรรม การสร้างบรรยากาศที่ดี แต่มีผลเสีย คือ ไม่มีความผูกพันระหว่างครูกับผู้เรียน
3. ระดับการจัดระบบการศึกษา เป็นการใช้เทคโนโลยีการศึกษาระดับกว้าง ๆ ตอบสนองต่อผู้เรียนได้เป็นจำนวนมาก เช่น ระบบการสอนทางไกลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งจะมีผู้เรียนจำนวนมาก แต่จะไม่เห็นผู้สอนตัวจริง มีแต่ผู้บรรยายทางโทรทัศน์ เทคโนโลยีระดับนี้นับเป็นพื้นฐานในการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนในปัจจุบัน
1. ระดับอุปกรณ์การสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีระดับเครื่องช่วยการสอนของครู (Teacher Aid) เป็นการเร้าความสนใจของนักเรียน ขยายความเข้าใจให้แจ่มแจ้ง เป็นการเพิ่มสัมผัสจากการใช้หูฟังครูเพียงอย่างเดียว ให้มีสัมผัสหลายทาง โดยการใช้ภาพใช้เสียงจริง หรือวัสดุจำลอง เป็นต้น
2. ระดับวิธีสอน เป็นใช้เทคโนโลยีแทนการสอนของครูด้วยตนเอง โดยผู้สอนไม่จำเป็นจะต้องอยู่ในสถานที่เดียวกับผู้เรียนเสมอไป เช่น การสอนทางไกลโดยใช้วิทยุโทรทัศน์ การใช้เทคโนโลยีระดับนี้มีผลดีในเรื่องของการจัดกิจกรรม การสร้างบรรยากาศที่ดี แต่มีผลเสีย คือ ไม่มีความผูกพันระหว่างครูกับผู้เรียน
3. ระดับการจัดระบบการศึกษา เป็นการใช้เทคโนโลยีการศึกษาระดับกว้าง ๆ ตอบสนองต่อผู้เรียนได้เป็นจำนวนมาก เช่น ระบบการสอนทางไกลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งจะมีผู้เรียนจำนวนมาก แต่จะไม่เห็นผู้สอนตัวจริง มีแต่ผู้บรรยายทางโทรทัศน์ เทคโนโลยีระดับนี้นับเป็นพื้นฐานในการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนในปัจจุบัน
ข้อ 6 จงอธิบายข้อแตกต่าง และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้ชัดเจน
เทคโนโลยีหมายถึง การนำเอากระบวนการ วิธี การ และแนวความคิดใหม่ๆมาใช้ประยุกต์ใช้ อย่างมีระบบเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
นวัตกรรม หมายถึง แนวความคิด เทคนิควิธี กิจกรรม วัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์ ใหม่ๆ ที่นำมาใช้แก้ปัญหาในการทำงานมีประสิทธิภาพขึ้น ช่วยให้ผลงานดีขึ้น หรือเป็นที่พอใจมากขึ้น
นวัตกรรม หมายถึง แนวความคิด เทคนิควิธี กิจกรรม วัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์ ใหม่ๆ ที่นำมาใช้แก้ปัญหาในการทำงานมีประสิทธิภาพขึ้น ช่วยให้ผลงานดีขึ้น หรือเป็นที่พอใจมากขึ้น
ข้อ 7 จงบอกถึงขั้นตอนในการเกิดนวัตกรรมมาให้ถูกต้อง
1.ขั้นการประดิษฐ์คิดค้น (Invention)
2.ขั้นการพัฒนาการ (Development) หรือขั้นการทดลอง(Pilot Project)
3.ขั้นการนำไปใช้ หรือ ปฏิบัติจริง(Innovation)
2.ขั้นการพัฒนาการ (Development) หรือขั้นการทดลอง(Pilot Project)
3.ขั้นการนำไปใช้ หรือ ปฏิบัติจริง(Innovation)
ข้อ 8 จงบอกถึงบทบาทของเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางศึกษากับกับการจัดการเรียนการสอนมาอย่างน้อย 5 ข้อ
1. ช่วยให้ผู้เรียน เรียนได้กว้างขวางมากขึ้น ได้เห็นหรือได้สัมผัสกับสิ่งที่เรียนและเข้าใจอย่างสมบูรณ์
2. สามารถสนองเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้เรียนมีอิสระในการแสวงหาความรู้ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมมากขึ้น ตามความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคล
3. ให้การจัดการศึกษาดีขึ้น มีการค้นคว้าวิจัย ทดลองค้นพบวิธีการใหม่ ๆ ตามสภาพความเปลี่ยนแปลง
4. มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาสื่อการสอนให้มีคุณค่าและสะดวกต่อการใช้มากขึ้น
5. ช่วยเพิ่มโอกาสทางการศึกษาของผู้เรียนให้มากขึ้น เช่น การจัดการศึกษานอกระบบ การจัดการศึกษาพิเศษ เป็นต้น
2. สามารถสนองเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้เรียนมีอิสระในการแสวงหาความรู้ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมมากขึ้น ตามความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคล
3. ให้การจัดการศึกษาดีขึ้น มีการค้นคว้าวิจัย ทดลองค้นพบวิธีการใหม่ ๆ ตามสภาพความเปลี่ยนแปลง
4. มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาสื่อการสอนให้มีคุณค่าและสะดวกต่อการใช้มากขึ้น
5. ช่วยเพิ่มโอกาสทางการศึกษาของผู้เรียนให้มากขึ้น เช่น การจัดการศึกษานอกระบบ การจัดการศึกษาพิเศษ เป็นต้น
ข้อ 9 จงยกตัวอย่างนวัตกรรมทางการศึกษาในปัจจุบันมาอย่างน้อย 3 ชนิด
1. บทเรียนสำเร็จรูป
2. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
3. การเรียนการสอนทางไกล
2. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
3. การเรียนการสอนทางไกล
ข้อ 10 จงอธิบายถึงสาเหตุของการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมกับการศึกษาไทยอย่างน้อย 3 ข้อ
1. การเพิ่มจำนวนประชากร : เป็นสาเหตุที่สำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาด้านต่าง ๆ เช่น การขาดแคลนอาหาร ที่อยู่อาศัย สถานที่เรียน ครู เป็นต้น ทำให้การจัดการศึกษาเป็นไปไม่ทั่วถึง หากรัฐจะสร้างอาคารเรียน หรือ ส่งครูไปให้เพียงพอและทั่วถึงคงจะทำได้ยากและต้องใช้งบประมาณมาก แนวทางที่เป็นไปได้ในการใช้นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา เช่น บทเรียนสำเร็จรูป เป็นต้น
2. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม : เป็นปัญหาที่ต่อเนื่องจากการเพิ่มประชากรโดยตรง ทำให้สภาพเศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การศึกษาจำเป็นต้องได้รับการปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงให้พ้นกับเหตุการณ์อยู่เสมอ เพื่อให้ผู้ที่ได้รับการศึกษาสามารถดำเนินชีวิตอยู่ได้ในสังคมได้อย่างมีความสุข และก้าวหน้าต่อไป
3. ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการใหม่ ๆ : การศึกษาจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาหลักสูตร เนื้อหา และวิธีสอน เพื่อให้ทันกับเครื่องมือและวิธีการที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จึงมีการนำเอานวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใช้ รวมทั้งยึดทฤษฎีต่าง ๆ เป็นหลัก และคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นสำคัญด้วย
2. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม : เป็นปัญหาที่ต่อเนื่องจากการเพิ่มประชากรโดยตรง ทำให้สภาพเศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การศึกษาจำเป็นต้องได้รับการปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงให้พ้นกับเหตุการณ์อยู่เสมอ เพื่อให้ผู้ที่ได้รับการศึกษาสามารถดำเนินชีวิตอยู่ได้ในสังคมได้อย่างมีความสุข และก้าวหน้าต่อไป
3. ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการใหม่ ๆ : การศึกษาจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาหลักสูตร เนื้อหา และวิธีสอน เพื่อให้ทันกับเครื่องมือและวิธีการที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จึงมีการนำเอานวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใช้ รวมทั้งยึดทฤษฎีต่าง ๆ เป็นหลัก และคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นสำคัญด้วย
ข้อ 11 จงอธิบายแนวคิดในการใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมกับการศึกษาไทยอย่างน้อย 5 ข้อ
1. คนไทยส่วนใหญ่ไม่นับถือตนเอง
2. คนไทยส่วนใหญ่ไม่เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อม 3. คนไทยส่วนใหญ่ขาดลักษณะที่พึงประสงค์ตามลักษณะสังคมไทย
2. คนไทยส่วนใหญ่ไม่เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อม 3. คนไทยส่วนใหญ่ขาดลักษณะที่พึงประสงค์ตามลักษณะสังคมไทย
ข้อ 12 จงยกตัวอย่าง และแนวทางในการแก้ไขของการขาดลักษณะที่พึงประสงค์ของคนไทย อย่างน้อย 3 ประการ
1. ขาดการปฏิบัติงานร่วมกันเป็นหมู่คณะอย่างมีประสิทธิภาพ
แนวทางแก้ไข : จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการเน้นการทำกิจกรรมกลุ่ม โดยให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันคิดร่วมกันทำกิจกรรมให้ประสบความสำเร็จ ซึ่งถ้างานไม่สำเร็จลุล่วงจะไม่มีการโทษคนใดคนหนึ่งในกลุ่มแต่ทุก ๆ คนจะต้องรับผิดชอบร่วมกัน และครูจะต้องอธิบายเสริมในส่วนที่เป็นแง่ดีของการทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งจะส่งผลดีทั้งต่อตนเองและต่อส่วนรวมอีกด้วย
2. ขาดความกล้าและแสดงความคิดเห็น
แนวทางแก้ไข : จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์ หรือเหตุการณ์ให้นักเรียนช่วยกันหาคำอธิบาย หาคำตอบ ข้อเท็จจริง ผลดี ผลเสีย หรือผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นโดยเรื่องที่ยกมาเป็นหัวข้ออาจจะเป็นได้ทั้งเรื่องใกล้ตัว ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน รวมถึงเรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ความเป็นอยู่ เศรษฐกิจ เพื่อจะได้ให้เด็กแสดงความคิดเห็นในเรื่องที่หลากหลายพัฒนาความกล้าพูดกล้าคิดของเด็กได้
3. ขาดความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
แนวทางแก้ไข : นอกเหนือจากการสอน และการอธิบายแบบทฤษฎีไปแล้ว ครูควรจะมีกิจกรรม หรือสถานการณ์ให้เด็กปฏิบัติจริงควบคู่กันไปด้วยเสมอ เพราะการสอน และอธิบายโดยให้เด็กเป็นแค่ผู้รับฟังเพียงอย่างเดียว จะไม่ก่อให้เกิดผลดีต่อตัวเด็กเลย ซึ่งในเรื่องของความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมนั้นถือว่าเป็นเรื่องสำคัญกับชีวิตของเด็ก ๆ ทุกคนที่จะนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตต่อไปในภายภาคหน้า
แนวทางแก้ไข : จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการเน้นการทำกิจกรรมกลุ่ม โดยให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันคิดร่วมกันทำกิจกรรมให้ประสบความสำเร็จ ซึ่งถ้างานไม่สำเร็จลุล่วงจะไม่มีการโทษคนใดคนหนึ่งในกลุ่มแต่ทุก ๆ คนจะต้องรับผิดชอบร่วมกัน และครูจะต้องอธิบายเสริมในส่วนที่เป็นแง่ดีของการทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งจะส่งผลดีทั้งต่อตนเองและต่อส่วนรวมอีกด้วย
2. ขาดความกล้าและแสดงความคิดเห็น
แนวทางแก้ไข : จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์ หรือเหตุการณ์ให้นักเรียนช่วยกันหาคำอธิบาย หาคำตอบ ข้อเท็จจริง ผลดี ผลเสีย หรือผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นโดยเรื่องที่ยกมาเป็นหัวข้ออาจจะเป็นได้ทั้งเรื่องใกล้ตัว ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน รวมถึงเรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ความเป็นอยู่ เศรษฐกิจ เพื่อจะได้ให้เด็กแสดงความคิดเห็นในเรื่องที่หลากหลายพัฒนาความกล้าพูดกล้าคิดของเด็กได้
3. ขาดความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
แนวทางแก้ไข : นอกเหนือจากการสอน และการอธิบายแบบทฤษฎีไปแล้ว ครูควรจะมีกิจกรรม หรือสถานการณ์ให้เด็กปฏิบัติจริงควบคู่กันไปด้วยเสมอ เพราะการสอน และอธิบายโดยให้เด็กเป็นแค่ผู้รับฟังเพียงอย่างเดียว จะไม่ก่อให้เกิดผลดีต่อตัวเด็กเลย ซึ่งในเรื่องของความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมนั้นถือว่าเป็นเรื่องสำคัญกับชีวิตของเด็ก ๆ ทุกคนที่จะนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตต่อไปในภายภาคหน้า
ข้อ 2 การสื่อความหมาย หมายถึง
กระบวนการส่ง หรือถ่ายทอดความรู้ เนื้อหาสาระ ความรู้สึกนึกคิด
ทัศนคติ ค่านิยม ทักษะ ตลอดจนประสบการณ์จากบุคคลที่เป็นฝ่ายผู้ส่งไปยังฝ่ายผู้รับ
ทัศนคติ ค่านิยม ทักษะ ตลอดจนประสบการณ์จากบุคคลที่เป็นฝ่ายผู้ส่งไปยังฝ่ายผู้รับ
ข้อ 4 สาร หมายถึง
เนื้อหาสาระ ความรู้สึก ทัศนคติ ทักษะ ประสบการณ์ ที่มีอยู่ในตัวผู้ส่ง หรือแหล่งกำเนิด
ข้อ 5 . Elements หมายถึง
องค์ประกอบย่อย ๆ พื้นฐานของสารที่จำเป็นต้องมี
ตัวอย่าง เช่น สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ เป็นต้น
ตัวอย่าง เช่น สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ เป็นต้น
ข้อ 6 Structure หมายถึง
โครงสร้างของสารของเกิดจากการนำเอาองค์ประกอบย่อย ๆ มารวมกัน
ตัวอย่าง เช่น คำ ประโยค สีสัน รูปร่าง เป็นต้น
ตัวอย่าง เช่น คำ ประโยค สีสัน รูปร่าง เป็นต้น
ข้อ 7 Content หมายถึง
ข้อมูลที่เป็นความรู้สึกนึกคิด ความต้องการของผู้ส่ง ข้อมูลนั้นเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร สอดคล้องเหมาะสมกับอะไร จะวางแผนในการเข้ารหัสและจัดส่งอย่างไร แต่ละแนวทางอาจได้ผลที่แต่งต่างกัน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)